บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 2 กันยายน พ.ศ.2557
ครั้งที่ 3 เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น.
วิธีการสอนในวันนี้
- อธิบายคุณลักษณะตามวัย
- อธิบายธรรมชาตของเด็ก
- บอกถึงทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
- ใช้คำถามเพื่อกระตุ้นการเรียนเสมอ
เริ่มก่อนเข้าเนื้อหาการเรียน (อ่านบทความ)
1. เรื่องวิทยาศาสตร์และการทดลอง โดย Miss Kamonwan Nakwichen
2. เรื่องภาระกิจตามหาใบไม้ โดย Miss Sirada Sakbud
3. เรื่องเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบบูรณาการ โดย Miss Siripron Pudlom
4. เรื่องวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก โดย Miss Siriwan Krudnaim
5. เรื่องการเป่าลูกโป่ง โดย Miss Kwanruthai Yaisuk
*สามารถติดตามเนื้อหาเพิ่มเติมจากบล็อกเพื่อนๆเลยนะค่ะ
- อาจารย์อธิบายคุณลักษณะตามวัย3-5ปี
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย3-5ปี
- พอใจคนที่ตามใจ
- มีช่วงความสนใจสั้น(5-10นาที)
- สนใจนิทานและเรื่องราวต่างๆ
- อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว
- ชอบที่จะทำใก้ผู้ใหญ่พอใจและได้รับคำชม
- ช่วยตนเองได้
- ชอบเล่นแบบคู่ขนาน
- พูดประโยคยาวสั้น
นักการศึกษา/หลักการแนวคิด
1. Piaget ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการอย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม
2. John Dewey เป็นผู้นำนักปราชญ์ผู้นี้มีความเชื่อว่าความอยู่รอดของสรรพสัตว์ (ซึ่งหมายถึงมนุษย์ด้วยนั้น) ย่อมขึ้นอยู่กับการปรับตัวของสิ่งนั้นๆ ความเชื่อนี้ได้มาจากชาร์ลส์ ดาวิน (Charles Darwin) เจ้าของทฤษฏีวิวัฒนาการซึ่งให้หลักไว้ว่าผู้ที่เหมาะสมที่สุดจะอยู่รอด (The Survival of the Fittest) ส่วนผู้ที่ไม่เหมาะสม ย่อมจะล้มหายตายจากไป จากความเป็นจริงข้อนี้ จอห์น ดิวอี้ จึงได้ยึดเอาเรื่อง “การปรับตัว” ให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมเป็นสรณะสำคัญ หรือเป็นแก่นแห่งการศึกษา จากแนวคิดเรื่องการปรับตัวนี้เอง จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) จึงเห็นค่ามนุษย์ย่อมมีปัญหาอยู่ตลอด ปัญหานั้นก็คือ การเผชิญต่อความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่เป็นอยู่ทุกขณะนั่นเอง เมื่อมนุษย์ต้องพบปัญหาอยู่ตลอด การฝึกมนุษย์ให้แก้ปัญหาได้ จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพราะจะช่วยให้ขจัดปัญหาที่มาขัดขวางการดำเนินชีวิตได้ และชีวิตนั้นก็จะอยู่รอดตลอดไป
3.Skinner กับทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning)โดยจากแนวความคิดที่ว่าความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นสิ่งก่อให้เกิดพฤติกรรม และผลของการกระทำของพฤติกรรมนั้นโดยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมนั้น ทฤษฏีนี้เน้นการกระทำของผู้ที่เรียนรู้มากกว่าสิ่งที่ผู้สอนกำหนดขึ้น
4.Pestalzzi เชื่อว่าการศึกษาธรรมชาติถือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน เปสตาลอซซี่มุ่งเน้นความคิดของการจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ (integrated curriculum) ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาเด็ก อย่างเป็นองค์รวม
เปสตาลอซซี่กล่าวว่าการจัดการศึกษาให้แก่เด็กควรรวมถึงการพัฒนาร่างกาย สติปัญญา และจิตใจ มีแนวคิดจาก
รุสโซตรงที่มุ่งเน้นการสอนเด็กเป็นกลุ่มมากกว่าการสอนเด็กเป็นรายบุคคล นอกจากนั้น เปสตาลอซซี่ยังเป็นต้นความคิดในเรื่องการเตรียมความพร้อม และเห็นว่าเด็กไม่ควร ถูกบังคับให้เรียนรู้ด้วยการท่องจำ แต่ต้องให้เวลาแล้วประสบการณ์แก่เด็กในการทำความเข้าใจสิ่งต่างๆ รอบตนเอง เปสตาลอสซี่ได้เขียนหนังสือหลายเล่มเพื่อเน้นความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ และลูก เช่น “เกอร์ทรูดสอนลูกอย่างไร” (How Gertrude Teaches Her Children) และ “หนังสือสำหรับแม่” (Books for Mothers) และได้ออกแบบหลักสูตรชื่อ“ปาปา”(Papa) สำหรับลูกของตน ซึ่งจะให้คำแนะนำแก่พ่อแม่ในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
5.Froeble กล่าวว่าสิทธิของเด็กเล็ก คือ ความเป็นอิสระในการแสดงออกตามธรรมชาติ ครูเป็นเพียงผู้ชี้แนะไม่ใช่ผู้ออกคำสั่ง เฟรอเบลเป็นคนแรกที่กล่าวว่าการเล่นและเกมส์ต่าง ๆ เป็นเสมือนการเรียนจากประสบการณ์ หลักการของเฟรอเบล เด็กจะได้รู้จักความจริง ความยุติธรรม ความรับผิดชอบและความรู้จักคิดทำอะไรได้ด้วยตนเองจนเกิดความชำนาญ มิใช่ทำทุกอย่างตามที่ครูบอก ทำให้เด็กสามารถค้นหาเอกัตภาพของตนเองได้
- อาจารย์อธิบายคุณลักษณะตามวัย3-5ปี
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย3-5ปี
- พอใจคนที่ตามใจ
- มีช่วงความสนใจสั้น(5-10นาที)
- สนใจนิทานและเรื่องราวต่างๆ
- อยากรู้อยากเห็นทุกอย่างรอบตัว
- ชอบที่จะทำใก้ผู้ใหญ่พอใจและได้รับคำชม
- ช่วยตนเองได้
- ชอบเล่นแบบคู่ขนาน
- พูดประโยคยาวสั้น
นักการศึกษา/หลักการแนวคิด
1. Piaget ได้ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการทางด้านความคิดของเด็กว่ามีขั้นตอนหรือกระบวนการอย่างไร ทฤษฎีของเพียเจต์ตั้งอยู่บนรากฐานของทั้งองค์ประกอบที่เป็นพันธุกรรม และสิ่งแวดล้อม เขาอธิบายว่า การเรียนรู้ของเด็กเป็นไปตามพัฒนาการทางสติปัญญา ซึ่งจะมีพัฒนาการไปตามวัยต่าง ๆ เป็นลำดับขั้น พัฒนาการเป็นสิ่งที่เป็นไปตามธรรมชาติ ไม่ควรที่จะเร่งเด็กให้ข้ามจากพัฒนาการจากขั้นหนึ่งไปสู่อีกขั้นหนึ่ง เพราะจะทำให้เกิดผลเสียแก่เด็ก แต่การจัดประสบการณ์ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กในช่วงที่เด็กกำลังจะพัฒนาไปสู่ขั้นที่สูงกว่า สามารถช่วยให้เด็กพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม เพียเจต์เน้นความสำคัญของการเข้าใจธรรมชาติและพัฒนาการของเด็กมากกว่าการกระตุ้นเด็กให้มีพัฒนาการเร็วขึ้น เพียเจต์สรุปว่า พัฒนาการของเด็กสามารถอธิบายได้โดยลำดับระยะพัฒนาทางชีววิทยาที่คงที่ แสดงให้ปรากฏโดยปฏิสัมพันธ์ของเด็กกับสิ่งแวดล้อม
2. John Dewey เป็นผู้นำนักปราชญ์ผู้นี้มีความเชื่อว่าความอยู่รอดของสรรพสัตว์ (ซึ่งหมายถึงมนุษย์ด้วยนั้น) ย่อมขึ้นอยู่กับการปรับตัวของสิ่งนั้นๆ ความเชื่อนี้ได้มาจากชาร์ลส์ ดาวิน (Charles Darwin) เจ้าของทฤษฏีวิวัฒนาการซึ่งให้หลักไว้ว่าผู้ที่เหมาะสมที่สุดจะอยู่รอด (The Survival of the Fittest) ส่วนผู้ที่ไม่เหมาะสม ย่อมจะล้มหายตายจากไป จากความเป็นจริงข้อนี้ จอห์น ดิวอี้ จึงได้ยึดเอาเรื่อง “การปรับตัว” ให้เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อมเป็นสรณะสำคัญ หรือเป็นแก่นแห่งการศึกษา จากแนวคิดเรื่องการปรับตัวนี้เอง จอห์น ดิวอี้ (John Dewey) จึงเห็นค่ามนุษย์ย่อมมีปัญหาอยู่ตลอด ปัญหานั้นก็คือ การเผชิญต่อความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่เป็นอยู่ทุกขณะนั่นเอง เมื่อมนุษย์ต้องพบปัญหาอยู่ตลอด การฝึกมนุษย์ให้แก้ปัญหาได้ จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพราะจะช่วยให้ขจัดปัญหาที่มาขัดขวางการดำเนินชีวิตได้ และชีวิตนั้นก็จะอยู่รอดตลอดไป
3.Skinner กับทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning)โดยจากแนวความคิดที่ว่าความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นสิ่งก่อให้เกิดพฤติกรรม และผลของการกระทำของพฤติกรรมนั้นโดยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมนั้น ทฤษฏีนี้เน้นการกระทำของผู้ที่เรียนรู้มากกว่าสิ่งที่ผู้สอนกำหนดขึ้น
4.Pestalzzi เชื่อว่าการศึกษาธรรมชาติถือเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรการเรียนการสอน เปสตาลอซซี่มุ่งเน้นความคิดของการจัดหลักสูตรแบบบูรณาการ (integrated curriculum) ซึ่งสอดคล้องกับการพัฒนาเด็ก อย่างเป็นองค์รวม
เปสตาลอซซี่กล่าวว่าการจัดการศึกษาให้แก่เด็กควรรวมถึงการพัฒนาร่างกาย สติปัญญา และจิตใจ มีแนวคิดจาก
รุสโซตรงที่มุ่งเน้นการสอนเด็กเป็นกลุ่มมากกว่าการสอนเด็กเป็นรายบุคคล นอกจากนั้น เปสตาลอซซี่ยังเป็นต้นความคิดในเรื่องการเตรียมความพร้อม และเห็นว่าเด็กไม่ควร ถูกบังคับให้เรียนรู้ด้วยการท่องจำ แต่ต้องให้เวลาแล้วประสบการณ์แก่เด็กในการทำความเข้าใจสิ่งต่างๆ รอบตนเอง เปสตาลอสซี่ได้เขียนหนังสือหลายเล่มเพื่อเน้นความสำคัญของความสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ และลูก เช่น “เกอร์ทรูดสอนลูกอย่างไร” (How Gertrude Teaches Her Children) และ “หนังสือสำหรับแม่” (Books for Mothers) และได้ออกแบบหลักสูตรชื่อ“ปาปา”(Papa) สำหรับลูกของตน ซึ่งจะให้คำแนะนำแก่พ่อแม่ในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก
5.Froeble กล่าวว่าสิทธิของเด็กเล็ก คือ ความเป็นอิสระในการแสดงออกตามธรรมชาติ ครูเป็นเพียงผู้ชี้แนะไม่ใช่ผู้ออกคำสั่ง เฟรอเบลเป็นคนแรกที่กล่าวว่าการเล่นและเกมส์ต่าง ๆ เป็นเสมือนการเรียนจากประสบการณ์ หลักการของเฟรอเบล เด็กจะได้รู้จักความจริง ความยุติธรรม ความรับผิดชอบและความรู้จักคิดทำอะไรได้ด้วยตนเองจนเกิดความชำนาญ มิใช่ทำทุกอย่างตามที่ครูบอก ทำให้เด็กสามารถค้นหาเอกัตภาพของตนเองได้
6.Gesell อธิบายถึงพัฒนาการทางกายที่มีรูปแบบที่แน่นอนและเป็นไปตามลำดับขั้น สภาพแวดล้อมมีส่วนช่วยส่งเสริมและต่อเติมพัฒนาการของเด็ก กีเซลเน้นถึงการเติบโตและลักษณะของเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน ถึงแม้แบบแผนและขั้นตอนพัฒนาการจะเหมือนกัน พัฒนาการของเด็กเป็นกระบวนการที่ประสานสัมพันธ์กันทุกด้านทั้งร่างกาย จิตใจ ดังนั้นการพัฒนาเด็กจึงต้องพัฒนาไปพร้อมๆกันทุกด้าน ทฤษฎีพัฒนาการทางร่างกายของกีเซลมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อมและการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กโดยมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาเด็กให้ครบทุกด้าน
การนำไปประยุกต์ใช้
การปรับใช้ในชีวิตประจำวันในการเรียนรู้ เหมือนกับเวลาที่เราสงสัยย่อมมีคำถามเสมอเพื่อการเข้าใจก็ไม่ต่างอะไรกับที่อาจารย์ถามเราเพื่อปลูกฝังนิสัยคิดไวและมีเหตุผล
ประเมินตนเอง
เข้าใจบทเรียนวันนี้เพราะอาจารย์ถามอยู่เสมอ และารเรียนรู้ทฤษฏีที่เกี่ยวกับการศึกษปฐมวียรวมถึงวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย บางท่านเราอาจจะยังไม่รู้จักดี
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจเรียน แต่ที่เป็นปัญหาคือบางคนยังไม่เริ่มอัพบล็อก
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ใช้วิธีการสอนโดยใช้คำถามเพื่อเปิดโอกาสให้เราได้ คิดและเป็นการกระตุ้นการเรียนของพวกเราอยุ่เสมอเพื่อให้เราเกิดทักษะด้านสติปัญญา
การปรับใช้ในชีวิตประจำวันในการเรียนรู้ เหมือนกับเวลาที่เราสงสัยย่อมมีคำถามเสมอเพื่อการเข้าใจก็ไม่ต่างอะไรกับที่อาจารย์ถามเราเพื่อปลูกฝังนิสัยคิดไวและมีเหตุผล
ประเมินตนเอง
เข้าใจบทเรียนวันนี้เพราะอาจารย์ถามอยู่เสมอ และารเรียนรู้ทฤษฏีที่เกี่ยวกับการศึกษปฐมวียรวมถึงวิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย บางท่านเราอาจจะยังไม่รู้จักดี
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆตั้งใจเรียน แต่ที่เป็นปัญหาคือบางคนยังไม่เริ่มอัพบล็อก
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ใช้วิธีการสอนโดยใช้คำถามเพื่อเปิดโอกาสให้เราได้ คิดและเป็นการกระตุ้นการเรียนของพวกเราอยุ่เสมอเพื่อให้เราเกิดทักษะด้านสติปัญญา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น