บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 28 กันยายน พ.ศ.2557
ครั้งที่ 10 เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น
กิจกรรมวันนี้
เทคนิคการสอน
- อาจารย์ใช้คำถามในการเรียนการสอน
- ให้นักศึกษาสังเกตวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
เริ่มการเรียนโดยอาจารย์เตรียมอุปกรณ์มาให้ทดลองดูและหาเหตุผลของการทดลองชิ้นนั้นว่าสาเหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะอะไร?ทำไม?และพูดถึง...
1.ทักษะกระบวนการทางวิทยาสาสตร์
2.แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
- การปรับตัว
- การพึ่งพาอาสัยกัน
- ความสมดุล
กิจกรรมที่1
อุปกรณ์ แก้ว เทียน ไม้ขีดไฟ จาน
1. ตัดกระดาษ A4 แบ่งออก 4 ส่วน ใช้ 1ส่วน
2. พับครึ่ง 2 ครั้ง
3. ฉีกกระดาษให้คล้ายกลีบดอกไม้
4. กางกลีบออกและพับเข้า 4 มุม ดังภาพข้างต้น
5. นำไปลอยน้ำ
ผลการทดลอง
เราจะเห็นได้ว่ากระดาษจะคายออกทีล่ะกลีบๆ จนบานออกหมด
เหตุเพราะ!! น้ำเขาไปแทนที่กระดาษจึงทำให้มันบานออกที่ล่ะนิดจนเปียกหมดทั้งดอกและมันก็จะลอยขึ้น (การดูดซึม)
กิจกรรมที่ 3
อุปกรณ์ โหล่ใส่น้ำ ดินน้ำมัน น้ำ
วิธีการทดลอง
ปั้นดินน้ำมันให้เป็นก้อนและลองมาย่อนใส่น้ำในภาชนะที่เตรียมไว้ และอีกประการหนึ่งทำอย่างไรก็ได้ให้ลอย ถ้าลอยก็ให้ลองวางลูกแก้วไว้บนดินน้ำมัน
ผลการทดลอง
- ปั้นเป็นก้อน...จม เพราะดินน้ำมันไม่มีอากาศอยู่ข้างในไม่สามารถลอยตัวได้
- ปั้นเแบนๆมีขอบขึ้นมาที่ไม่ให้น้ำเข้าได้...ไม่จม เพราะน้ำไม่สามารถไปแทนที่ของอากาศที่ลอยตัวอยู่ได้ แต่ถ้านำลูกแก้วใส่ไปลูกแรกจะยังคงลอยได้แต่ลูกต่อไปจม เพราะความหนักของดินน้ำมันดินน้ำมันเบากว่าลูกแก้วเลยไม่สามารถประคองอยู่ได้่
กิจกรรมที่ 4
อุปกรณ์ ปากกา น้ำ แก้ว
วิธีการทดลอง
เทน้ำใส่แก้วให้พอดีปากแก้วและนำปากกาใส่ในแก้วนั้นและสังเกตดุ
ผลการทดลอง
เราจะมองเห็นปากกาขยายใหญ่ขึ้นแต่ส่วนที่อยู่ในตรงกลางแก้วจะขนาดปกติ เหตุที่เราเห็นการขยายตัวของสิ่งของผ่านน้ำเพราะเกิดการหักเหของผิวน้ำสะท้อนผ่านตาเรา
การนำมาประยุกต์ใช้
คือการนำไปประยุกต์ใช้กับเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เราสามารถนำไปบูรณาการให้เข้ากับแผนการสอนเราก็ได้ตามหน่วยต่างๆ เช่น หน่วยน้ำ หน่วยพืช ตามคุณสมบัติของมัน
ประเมินตนเอง
สนุกกับการทดลอง สามารถนำไปใช้ได้หลายอย่าง ดูน่าสนใจ เป็นสิ่งของง่ายๆที่เราสามารถหาได้ตามท้องถิ่นและสิ่งของใกล้ตัว สะดวกต่อการนำไปใช้อีกด้วย
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆดูสนใจการทดลองที่อาจารย์นำมาทดลองให้ดู และทุกคนมีส่วนรวมในการทดลองอีกด้วย จึงทำให้ดูไม่น่าเบื่อ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์พยายามให้เราคิดตอบคำถามหาเหตุผลของการทดลองที่อาจารย์ทดลองให้ดู เพื่อให้ทุกคนเข้าใจและมีส่วนรวมในการทำกิจกรรมอีกด้วย
เทคนิคการสอน
- อาจารย์ใช้คำถามในการเรียนการสอน
- ให้นักศึกษาสังเกตวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
เริ่มการเรียนโดยอาจารย์เตรียมอุปกรณ์มาให้ทดลองดูและหาเหตุผลของการทดลองชิ้นนั้นว่าสาเหตุที่เป็นเช่นนั้นเพราะอะไร?ทำไม?และพูดถึง...
1.ทักษะกระบวนการทางวิทยาสาสตร์
2.แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
- การเปลี่ยนแปลง
- ความแตกต่าง
- การปรับตัว
- การพึ่งพาอาสัยกัน
- ความสมดุล
กิจกรรมที่1
อุปกรณ์ แก้ว เทียน ไม้ขีดไฟ จาน
วิธีทำ
จุดไฟและนำไปตั้งบนก้นจาน จากนั้นเราก็ค่อยๆนำแก้วมาคอบเบาๆจนสนิท
ผลการทดลอง
เราจะเห็นได้ว่าแสงไฟจะค่อยๆดับลงเมื่อเรานำแก้วมาคอบลงอย่างช้าๆจนสนิทไฟก็ดับสนิท
เหตุเพราะ!! ตอนที่ยังไม่คอบแก้วลงเทียนยังมีอากาศอยู่แต่เมื่อคอบแก้วลงและไฟดับเป็นเพราะว่าไม่มีอากาศถ่ายเทออกมาจึงทำไฟดับลง
กิจกรรมที่ 2
อุปกรณ์ กระดาษ A4 พับ 4 ส่วน ใช่ 1 ส่วน
วิธีทำ
2. พับครึ่ง 2 ครั้ง
3. ฉีกกระดาษให้คล้ายกลีบดอกไม้
4. กางกลีบออกและพับเข้า 4 มุม ดังภาพข้างต้น
5. นำไปลอยน้ำ
ผลการทดลอง
เราจะเห็นได้ว่ากระดาษจะคายออกทีล่ะกลีบๆ จนบานออกหมด
เหตุเพราะ!! น้ำเขาไปแทนที่กระดาษจึงทำให้มันบานออกที่ล่ะนิดจนเปียกหมดทั้งดอกและมันก็จะลอยขึ้น (การดูดซึม)
กิจกรรมที่ 3
อุปกรณ์ โหล่ใส่น้ำ ดินน้ำมัน น้ำ
วิธีการทดลอง
ปั้นดินน้ำมันให้เป็นก้อนและลองมาย่อนใส่น้ำในภาชนะที่เตรียมไว้ และอีกประการหนึ่งทำอย่างไรก็ได้ให้ลอย ถ้าลอยก็ให้ลองวางลูกแก้วไว้บนดินน้ำมัน
ผลการทดลอง
- ปั้นเป็นก้อน...จม เพราะดินน้ำมันไม่มีอากาศอยู่ข้างในไม่สามารถลอยตัวได้
- ปั้นเแบนๆมีขอบขึ้นมาที่ไม่ให้น้ำเข้าได้...ไม่จม เพราะน้ำไม่สามารถไปแทนที่ของอากาศที่ลอยตัวอยู่ได้ แต่ถ้านำลูกแก้วใส่ไปลูกแรกจะยังคงลอยได้แต่ลูกต่อไปจม เพราะความหนักของดินน้ำมันดินน้ำมันเบากว่าลูกแก้วเลยไม่สามารถประคองอยู่ได้่
กิจกรรมที่ 4
อุปกรณ์ ปากกา น้ำ แก้ว
วิธีการทดลอง
เทน้ำใส่แก้วให้พอดีปากแก้วและนำปากกาใส่ในแก้วนั้นและสังเกตดุ
ผลการทดลอง
เราจะมองเห็นปากกาขยายใหญ่ขึ้นแต่ส่วนที่อยู่ในตรงกลางแก้วจะขนาดปกติ เหตุที่เราเห็นการขยายตัวของสิ่งของผ่านน้ำเพราะเกิดการหักเหของผิวน้ำสะท้อนผ่านตาเรา
การนำมาประยุกต์ใช้
คือการนำไปประยุกต์ใช้กับเด็กปฐมวัยโดยการจัดกิจกรรมหน่วยการเรียนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เราสามารถนำไปบูรณาการให้เข้ากับแผนการสอนเราก็ได้ตามหน่วยต่างๆ เช่น หน่วยน้ำ หน่วยพืช ตามคุณสมบัติของมัน
ประเมินตนเอง
สนุกกับการทดลอง สามารถนำไปใช้ได้หลายอย่าง ดูน่าสนใจ เป็นสิ่งของง่ายๆที่เราสามารถหาได้ตามท้องถิ่นและสิ่งของใกล้ตัว สะดวกต่อการนำไปใช้อีกด้วย
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆดูสนใจการทดลองที่อาจารย์นำมาทดลองให้ดู และทุกคนมีส่วนรวมในการทดลองอีกด้วย จึงทำให้ดูไม่น่าเบื่อ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์พยายามให้เราคิดตอบคำถามหาเหตุผลของการทดลองที่อาจารย์ทดลองให้ดู เพื่อให้ทุกคนเข้าใจและมีส่วนรวมในการทำกิจกรรมอีกด้วย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น