บันทึกอนุทิน
วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 16 กันยายน พ.ศ.2557
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 08.30 - 12.20 น.
เริ่มเข้าสู่บทเรียนอาจารย์เปิดScience Songs(เพลงวิทยาศาสตร์)และจากนั้นให้เพื่อนอ่านบทความ
บทความวันนี้
1.การสอนปรากฏการณ์ธรรมชาติ จากเหตุการณ์จริงที่เด็กต้องพบเจอ เช่น น้ำท่วม ไฟไหม้ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก เด็กสามารถเรียนรู้ได้เด็กได้รู้จักการอนุรักษณ์ธรรมชาติมีการตั้งสมมติฐานการข้อมูล การลองผิดลองถูก Preeyanuch Chontep
2.วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและมีความ เข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสบาย เช่นเราจะรู้สึกว่าไม่มีความสุขหากอากาศร้อนมากวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรามี พัดลมหรือแอร์ เราได้รับความบันเทิงทางเทคโนโลยีเช่นทีวี วิทยุ เป็นต้น Piyada Pongpan
บทความวันนี้
1.การสอนปรากฏการณ์ธรรมชาติ จากเหตุการณ์จริงที่เด็กต้องพบเจอ เช่น น้ำท่วม ไฟไหม้ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก เด็กสามารถเรียนรู้ได้เด็กได้รู้จักการอนุรักษณ์ธรรมชาติมีการตั้งสมมติฐานการข้อมูล การลองผิดลองถูก Preeyanuch Chontep
2.วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและมีความ เข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสบาย เช่นเราจะรู้สึกว่าไม่มีความสุขหากอากาศร้อนมากวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรามี พัดลมหรือแอร์ เราได้รับความบันเทิงทางเทคโนโลยีเช่นทีวี วิทยุ เป็นต้น Piyada Pongpan
- ถ้ารอบๆตัวเราไม่มีแสงสว่างเราก็จะมองอะไรไม่เห็น แสงสว่างจึงเป็นสิ่งสำคัญกับเรา
แสงเป็นคลื่นชนิดหนึ่งเหมือนกลับคลื่นนำ้ในทะเลแต่จะเป็นคลื่นที่มีความยาวสั้นมาก นอกจากนี้แสงยังเคลื่อนที่ได้เร็วมา 300,000 กิโลเมตร/วินาที เปรียบเท่ากับการวิ่งรอบโลก 7 รอบ
ในเวลา 1 วินาที
*การทดลอง หากล่องใบใหญ่ที่มีฦาปิดมา 1ใบ เจาะรูข้างกล่อง 1 รู แล้วนำของมาใส่ในกล่อง เช่น ตุ๊กตาและปิดฝากล่อง จากนั้นก็มองเข้าไปดูในรูที่เจาะไว้(จะมือสนิทมองไม่เห็นอะไร) ค่อยๆเปิดฝากล่องออกมองดูของที่อยู่ในกล่องผ่านรูที่เจาะ(จะมองเห็นของที่อยู่ในกล่อง)เจาะรูเพิ่มอีก 1 รูและนำไฟฉายส่องผ่านรูที่เจาะและมองอีกรูที่เหลือเราจะมองเห็นสิ่งของ
*แสงเดินทางเป็นเส้นตรง วัตถุของแสงบนโลกนีมี 3 แบบ
1. วัตถุแบบโปร่งใส แสงจะทะลุผ่านไปได้ แต่บางส่วนเท่านั้น เราจึงมองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ด้านหลังวัตถุโปร่งแสงได้ไม่ชัดเจน เช่น กระจกฝ่า และพลาสติกขุ่นๆ เป็นต้น
2. วัตถุโปร่งใส จะเป็นวัตุที่แสงผ่านไปได้ทั้งหมดทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ข้างหลังได้ชัดเจน เช่น กระจกใส และพลาสติกใส
3. วัตถุทึบแสง จะดูดกลืนแสงที่เหลือไว้และจะสะท้อนแสงที่เหลือเข้าสู่ตาเรา เช่น หิน ไม้ เหล็ก
- เครื่องฉายภาพนิ่งเรียกสั้นๆๆกล้องรูเข็ม การส่องไฟจากภาพต้นแสงโดยมองผ่านรูที่เจาะไวจะเห็นภาพตามที่เราตั้งไว้
ภาพที่กลับหัวเหมือภาพต้นแบบก็เพราะแสงเดินทางผ่านเส้นตรงที่เป็นรูเล็กๆอย่างรูกระป๋อง
- ดวงตาของเราก็มีรูเล็กๆเราเรียกว่ารูรับแสง ภาพที่ผ่านรูรับแสงในตาเราก็จะเป็นภาพกลับหัวเหมือนกัน หลักการนี้เขาจึงนำมาทำกล้องถ่ายรูป สิ่งที่มนุษย์เราเห็นภาพเป็นปกติก็เพราะสมองของเราจะกลับภาพโดยอัตโนมัติ
*การสะท้อนของแสง
- การทดลอง วางกระเงาไว้บนพื้นและส่องไฟฉายไปที่กระจกเงาเราก็จะเห็นแสงสะท้อนกลับมาตรงๆ จากนั้นเราก็ลองเปลี่ยนการทิศทางใหม่โดยเฉียงๆก็จะเห็นเฉียง เมื่อแสงสะท้อนจากวัตถุจะมุ่งไปทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางแสงที่ส่องมาตลอด
- แสงจะสะท้อนกลับไปทิศทางตรงกันข้ามกลับทิศทางที่ฉายแสงลงมาเสมอแล้วที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะลำแสงที่สัมผัสกับพื้นผิวของวัตถุสะท้อนกลับนั้นจะเป็นมุมที่เท่าและคู่กันกับลำแสงที่ส่องลงมาเสมอ
- หลักของการสะท้อนแสงเราสามารถนำมาประยุกต์เป็นของเล่นได้ตัวอย่างเช่น เราลองใช่กระจกเงาสะท้อนภาพของตุ๊กตาจะเห็นว่ามีเงาเกิดขึ้นแค่1ภาพจากนั้นเราก็นำกระจกเงาอีก1บานมาวางทำมุม 90องศา กลับกระจกเงาบานแรกแล้วนำตุ๊กตาตัวเดิมมาว่างไวลอยต่อของกระจกจะเห็นว่ามีภาพตุ๊กตาเกิดขึ้นอีกเยอะแยะ ต่อไปถ้าเราจะบีบกระจกให้แคบเงาที่สะท้อนก็จะเพิ่มมากขึ้น ยิ่งถ้ามุมมีองศาแคบเท่าไรภาพในกระจกก็จะมากขึ้นเท่านั้น นั้นก็เป็นเพราะกระจกทางสองบานสะท้อนไปมา
- กล้องคาไลโดสโคป(Kaleidoscope) นำกระจกเงา3บานมาประกบกันให้เป็นกระบอกทรง3เหลี่ยม และก็นำมาส่องกับภาพจะเห็นภาพสะท้อมากมาย เขาใช้หลักการสะท้อนของแสงและมุมประกบของกระจกเมื่อแสงตกกระทบในทรงสามเหลี่ยมมันก็จะสะท้อนไปสะท้อนมาในนั้นจึงทำให้เกิดภาพ
- กล้องส่องภาพเหนือระดับสายตาหรือกล้องเพอริสโคป( Periscope ) ใช้หลักการสะท้อนของแสงคือแสงกับวัตถุจะผ่านเข้ามาทางช่องบนที่เราเจาะเอาไว้มากระทบบนกระจกเงาแผ่นบนแล้วก็สะท้อนมายังกระจกเงาแผ่นล่างและสะท้อนเข้าสู้สายตาของเราทำให้มองเห็นของที่อยู่สูงกว่าเรามากๆได้ขึ้นอยู่กับลำกล้องว่ายาวมากแค่ไหน
* หลักการหักเหของแสง แสงจะเปลี่ยนทิศทางในการเคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น ลองให้แสงส่องผ่านแท่นแก้วลิสซึมสามเหลี่ยมจะเห็นแสงที่ผ่านแท่นเเก้วหักงอ และถ้าเราลองฉายแสงผ่านตู้กระจก เริ่มแรกลองฉายแสงผ่านไปตรงๆก็จะเห็นแสงพุ้งตรง และถ้าเราฉายแสงแบบเฉียงๆเราก็จะเห็นแสงหักงอ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะแสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางคนล่ะชนิดกัน
- การเผ่ากระดาษด้วยแสง ใช้เลนส์นูนรวมแสงให้ไปตกที่กระดาษรับแสง จะเห็นได้ว่าแสงรวมเป็นจุดเดียว และถ้าเราปล่อยให้แสงรวมกันอย่างนี้ จะเห็นว่ามีไฟคิดขึ้นที่ฉากรับแสง เหตุที่เกิดเพราะความร้อนของพระอาทิตย์มีความร้อนและถ้ามารวมตัวกันก็ยิ่งเพิ่มความร้อนให้สูงขึ้น
- การหักเหของแสงจะทำให้เราเห็นวิวและแสงสวยๆ ในตอนหลังฝนตกเราก็จะเห็นรุ้งกินน้ำที่เกิดจากการหักเหของแสง
แสงที่เราเห็นจะประกอบไปด้วย7สี คือ ม่วง น้ำเงิน ฟ้า เขียว เหลือง แสด แดง แม่สีทั้ง7เมื่อรวมกันแล้วก็จะกลายเป็นสีขาวแต่หลังฝนตกใหม่ๆจะมีละอองน้ำในอากาศ เมื่อแสงผ่านละอองน้ำก็จะเกิดความหักเหของแสง และแสงจะแยกตัวจากสีขาวเป็น7สี ที่เราเรียกว่า "แทบสเป็กกราฟ"หรือ "รุ้งกินน้ำ"
*เงา ( Shadows )
เป็นสิ่งที่คู่กับแสงเสมอ เงาของวัตถุจะเกิดขึ้นจากแสงที่เดินเป็นเส้นตรงไปเรื่อยๆเมื่อมีวัตถุมาขว้างทางเดินของแสงไว้พื้นที่ด้านหน้าของวัตถุก็จะถูกกลื้นและเกิดการสะท้อนแสงออกมาแต่พื้นที่ด้านหลังวัตถุแสงส่องไปไม่ถึงเลยไม่มีการสะท้อนของแสงเกิดขึ้นจึงเกิดเป็นพื้นที่สีดำที่เราเรียกว่า "เงา"
การนำไปประยุกต์ใช้
- การสอนเด็กๆเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวที่จะเกิดขึ้น และมีอยู่ใกล้ตัวเด็กเอง
- เรื่องของแสงเป็นสิ่งที่อยู่บนโลกเราและใกล้ตัวเรามากที่สุด การเกิดแสงนั้นสามารถนำเนื้อหาบางส่วนมาประดิษฐ์สื่อได้
ประเมินตนเอง
- ได้ความรู้เพิ่มจาการชมVideo เรื่อง ความลับของแสง เพราะเนื้อหาบางส่วนเราก็ยังไม่รู้จักเกี่ยวกับเรื่องแสง แสงมัทั้งโทษและประโยชน์
ประเมินอาจารย์
- อาจารย์นำความรู้มาเพิ่มเติมให้เราจากการ ฟังเพลง ดูวิดีโอ อ่านบทความ การนำความรู้หลายๆทางมารวมกันเพื่อให้เรามีความรู้ให้มากๆ รู้เยอะดีกว่าไม่รู้อะไรเลย
1. วัตถุแบบโปร่งใส แสงจะทะลุผ่านไปได้ แต่บางส่วนเท่านั้น เราจึงมองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ด้านหลังวัตถุโปร่งแสงได้ไม่ชัดเจน เช่น กระจกฝ่า และพลาสติกขุ่นๆ เป็นต้น
2. วัตถุโปร่งใส จะเป็นวัตุที่แสงผ่านไปได้ทั้งหมดทำให้เรามองเห็นสิ่งต่างๆที่อยู่ข้างหลังได้ชัดเจน เช่น กระจกใส และพลาสติกใส
3. วัตถุทึบแสง จะดูดกลืนแสงที่เหลือไว้และจะสะท้อนแสงที่เหลือเข้าสู่ตาเรา เช่น หิน ไม้ เหล็ก
- เครื่องฉายภาพนิ่งเรียกสั้นๆๆกล้องรูเข็ม การส่องไฟจากภาพต้นแสงโดยมองผ่านรูที่เจาะไวจะเห็นภาพตามที่เราตั้งไว้
ภาพที่กลับหัวเหมือภาพต้นแบบก็เพราะแสงเดินทางผ่านเส้นตรงที่เป็นรูเล็กๆอย่างรูกระป๋อง
- ดวงตาของเราก็มีรูเล็กๆเราเรียกว่ารูรับแสง ภาพที่ผ่านรูรับแสงในตาเราก็จะเป็นภาพกลับหัวเหมือนกัน หลักการนี้เขาจึงนำมาทำกล้องถ่ายรูป สิ่งที่มนุษย์เราเห็นภาพเป็นปกติก็เพราะสมองของเราจะกลับภาพโดยอัตโนมัติ
*การสะท้อนของแสง
- การทดลอง วางกระเงาไว้บนพื้นและส่องไฟฉายไปที่กระจกเงาเราก็จะเห็นแสงสะท้อนกลับมาตรงๆ จากนั้นเราก็ลองเปลี่ยนการทิศทางใหม่โดยเฉียงๆก็จะเห็นเฉียง เมื่อแสงสะท้อนจากวัตถุจะมุ่งไปทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางแสงที่ส่องมาตลอด
- แสงจะสะท้อนกลับไปทิศทางตรงกันข้ามกลับทิศทางที่ฉายแสงลงมาเสมอแล้วที่เป็นเช่นนั้นก็เพราะลำแสงที่สัมผัสกับพื้นผิวของวัตถุสะท้อนกลับนั้นจะเป็นมุมที่เท่าและคู่กันกับลำแสงที่ส่องลงมาเสมอ
- หลักของการสะท้อนแสงเราสามารถนำมาประยุกต์เป็นของเล่นได้ตัวอย่างเช่น เราลองใช่กระจกเงาสะท้อนภาพของตุ๊กตาจะเห็นว่ามีเงาเกิดขึ้นแค่1ภาพจากนั้นเราก็นำกระจกเงาอีก1บานมาวางทำมุม 90องศา กลับกระจกเงาบานแรกแล้วนำตุ๊กตาตัวเดิมมาว่างไวลอยต่อของกระจกจะเห็นว่ามีภาพตุ๊กตาเกิดขึ้นอีกเยอะแยะ ต่อไปถ้าเราจะบีบกระจกให้แคบเงาที่สะท้อนก็จะเพิ่มมากขึ้น ยิ่งถ้ามุมมีองศาแคบเท่าไรภาพในกระจกก็จะมากขึ้นเท่านั้น นั้นก็เป็นเพราะกระจกทางสองบานสะท้อนไปมา
- กล้องคาไลโดสโคป(Kaleidoscope) นำกระจกเงา3บานมาประกบกันให้เป็นกระบอกทรง3เหลี่ยม และก็นำมาส่องกับภาพจะเห็นภาพสะท้อมากมาย เขาใช้หลักการสะท้อนของแสงและมุมประกบของกระจกเมื่อแสงตกกระทบในทรงสามเหลี่ยมมันก็จะสะท้อนไปสะท้อนมาในนั้นจึงทำให้เกิดภาพ
- กล้องส่องภาพเหนือระดับสายตาหรือกล้องเพอริสโคป( Periscope ) ใช้หลักการสะท้อนของแสงคือแสงกับวัตถุจะผ่านเข้ามาทางช่องบนที่เราเจาะเอาไว้มากระทบบนกระจกเงาแผ่นบนแล้วก็สะท้อนมายังกระจกเงาแผ่นล่างและสะท้อนเข้าสู้สายตาของเราทำให้มองเห็นของที่อยู่สูงกว่าเรามากๆได้ขึ้นอยู่กับลำกล้องว่ายาวมากแค่ไหน
* หลักการหักเหของแสง แสงจะเปลี่ยนทิศทางในการเคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น ลองให้แสงส่องผ่านแท่นแก้วลิสซึมสามเหลี่ยมจะเห็นแสงที่ผ่านแท่นเเก้วหักงอ และถ้าเราลองฉายแสงผ่านตู้กระจก เริ่มแรกลองฉายแสงผ่านไปตรงๆก็จะเห็นแสงพุ้งตรง และถ้าเราฉายแสงแบบเฉียงๆเราก็จะเห็นแสงหักงอ เหตุที่เป็นเช่นนี้เพราะแสงเดินทางผ่านวัตถุหรือตัวกลางคนล่ะชนิดกัน
- การเผ่ากระดาษด้วยแสง ใช้เลนส์นูนรวมแสงให้ไปตกที่กระดาษรับแสง จะเห็นได้ว่าแสงรวมเป็นจุดเดียว และถ้าเราปล่อยให้แสงรวมกันอย่างนี้ จะเห็นว่ามีไฟคิดขึ้นที่ฉากรับแสง เหตุที่เกิดเพราะความร้อนของพระอาทิตย์มีความร้อนและถ้ามารวมตัวกันก็ยิ่งเพิ่มความร้อนให้สูงขึ้น
- การหักเหของแสงจะทำให้เราเห็นวิวและแสงสวยๆ ในตอนหลังฝนตกเราก็จะเห็นรุ้งกินน้ำที่เกิดจากการหักเหของแสง
แสงที่เราเห็นจะประกอบไปด้วย7สี คือ ม่วง น้ำเงิน ฟ้า เขียว เหลือง แสด แดง แม่สีทั้ง7เมื่อรวมกันแล้วก็จะกลายเป็นสีขาวแต่หลังฝนตกใหม่ๆจะมีละอองน้ำในอากาศ เมื่อแสงผ่านละอองน้ำก็จะเกิดความหักเหของแสง และแสงจะแยกตัวจากสีขาวเป็น7สี ที่เราเรียกว่า "แทบสเป็กกราฟ"หรือ "รุ้งกินน้ำ"
*เงา ( Shadows )
เป็นสิ่งที่คู่กับแสงเสมอ เงาของวัตถุจะเกิดขึ้นจากแสงที่เดินเป็นเส้นตรงไปเรื่อยๆเมื่อมีวัตถุมาขว้างทางเดินของแสงไว้พื้นที่ด้านหน้าของวัตถุก็จะถูกกลื้นและเกิดการสะท้อนแสงออกมาแต่พื้นที่ด้านหลังวัตถุแสงส่องไปไม่ถึงเลยไม่มีการสะท้อนของแสงเกิดขึ้นจึงเกิดเป็นพื้นที่สีดำที่เราเรียกว่า "เงา"
การนำไปประยุกต์ใช้
- การสอนเด็กๆเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัวที่จะเกิดขึ้น และมีอยู่ใกล้ตัวเด็กเอง
- เรื่องของแสงเป็นสิ่งที่อยู่บนโลกเราและใกล้ตัวเรามากที่สุด การเกิดแสงนั้นสามารถนำเนื้อหาบางส่วนมาประดิษฐ์สื่อได้
ประเมินตนเอง
- ได้ความรู้เพิ่มจาการชมVideo เรื่อง ความลับของแสง เพราะเนื้อหาบางส่วนเราก็ยังไม่รู้จักเกี่ยวกับเรื่องแสง แสงมัทั้งโทษและประโยชน์
ประเมินอาจารย์
- อาจารย์นำความรู้มาเพิ่มเติมให้เราจากการ ฟังเพลง ดูวิดีโอ อ่านบทความ การนำความรู้หลายๆทางมารวมกันเพื่อให้เรามีความรู้ให้มากๆ รู้เยอะดีกว่าไม่รู้อะไรเลย
ตรวจสอบสิ่งที่ครูจะประเมินด่วนนะคะ เพราะยังมีไม่ครบ ขอให้นำเสนองานในBlogด้วยเครื่องมือหรือเทคโนโลยีมากกว่านี้จะดีมากคะ
ตอบลบ